[x] ปิดหน้าต่างนี้
Powered by ATOMYMAXSITE 2.6
ยินดีต้อนรับคุณ บุคคลทั่วไป  
English Chinese (Simplified) Chinese (Traditional) French German Italian Japanese Korean Portuguese Russian Spanish Vietnamese Thai     
เมนูหลัก
เว็บไซต์แผนกวิชา
อาชีวศึกษา จังหวัดเพชรบูรณ์

ภาพกิจกรรม
สถิติผู้เยี่ยมชม

  

งานวิจัยในชั้นเรียน
    เรื่อง : การศึกษาปัจจัยที่ทำให้ผู้เรียนทำดอกสว่านหักจากการปฏิบัติงานเจาะใน รายวิชา ปฏิบัติงานเครื่องมือกล 4 แผนกวิชาช่างกลโรงงาน

เจ้าของผลงาน : นายสุพจน์ ปิ่นพฤฒิกุล
จันทร์ ที่ 1 เดือน สิงหาคม พ.ศ.2559
เข้าชม : 1077    จำนวนการดาวน์โหลด : 335 ครั้ง
Not Rated stars เฉลี่ย : Not Rated จาก 0 ครั้ง.

บทคัดย่อ :
บทคัดย่อ
                  การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์ เพื่อศึกษาหาสาเหตุและปัจจัยที่ทำให้ผู้เรียนทำดอกสว่านหักในการปฏิบัติงานเจาะ ในวิชา ปฏิบัติงานเครื่องมือกล 4 แผนกช่างกลโรงงาน วิทยาลันเทคนิคเพชรบูรณ์ โดยมีองค์ประกอบในการปฏิบัติงานเจาะเช่นด้านเทคนิคในการเจาะและด้านสภาพสิ่งแวดล้อมในการทำงานเจาะ โดยผู้วิจัยได้เลือกกลุ่มตัวอย่างที่ได้ทำการศึกษา คือนักศึกษาระดับชั้น ปวช. 3/2 โดยมีแบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจำนวน 19 ชุด โดยใช้การทดสอบทางสมมติฐานการใช้ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
          ผลการวิจัยพบว่า ที่มีต่อการลดปัญหาดอกสว่านหักอันเป็นสาเหตุให้ดอกสว่านไม่เพียงพอและเกิดอุบัติเหตุ แผนกวิชาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคเพชรบูรณ์ มีระดับทัศนคติที่อยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับของทัศนคติเรียงจากมากสุดไปหาน้อยสุด คือ องค์ประกอบด้านการสื่อการเรียนการสอนองค์ประกอบด้านบรรยากาศในการเรียน และองค์ประกอบด้านครูผู้สอน


ดาวน์โหลด   ( บทคัดย่อ) 

งานวิจัยในชั้นเรียน 5 อันดับล่าสุด

      การศึกษาการทำโอเอซีสจากจอกหูหนูและขุยมะพร้าวในการยืดอายุดอกกุหลาบ 2/ก.ค./2567
      การเขียนโครงการหลักสูตรประกาศบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2556 23/มี.ค./2560
      รายงานพัฒนาเอกสารประกอบการเรียนวิชางานเครื่องยนต์ดีเซล รหัสวิชา 2101 - 2002 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพพุทธศักราช 2556 15/มี.ค./2560
      ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเบเกอรี่่ รหัสวิชา 2402-2007 6/ก.พ./2560
      การสร้างและประสิทธิภาพชุดฝึกทักษะการใช้ไมโครมิเตอร์ วิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ รหัสวิชา 2101 - 2106 1/ก.พ./2560